โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1

ดัชนี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 ประจำปี..

53 ความสัมพันธ์: ชลประคัลภ์ จันทร์เรืองบุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ยชไมพร จตุรภุชพ.ศ. 2535พร้อมมิตร โปรดักชั่นพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกรุงเทพมหานครกะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อนภัสสร บุณยเกียรติมานพ อุดมเดชยุทธนา มุกดาสนิทรัญญา ศิยานนท์รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรณ ฤทธิชัยวิถีคนกล้าส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44สรพงศ์ ชาตรีสุรศักดิ์ วงษ์ไทยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลหลงไฟอังคณา ทิมดีอำพล ลำพูนอครา อมาตยกุลจันทร์จิรา จูแจ้งจิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์จินตหรา สุขพัฒน์ทวิภพขจรศักดิ์ รัตนนิสสัยคนเลี้ยงช้างฉัตรชัย เปล่งพานิชซีอุยประเทศไทยปวีณา ชารีฟสกุลปุกปุยแรงฤทธิ์พิศวาสไฟว์สตาร์โปรดักชั่นไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์...เชิด ทรงศรีเวลาในขวดแก้ว25 มกราคม ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง

ลประคัลภ์ จันทร์เรือง เจ้าของฉายา "ครูช่าง" เป็นนักแสดง ผู้กำกับและเขียนบทละครเวที ปัจจุบันเป็นผู้ฝึกสอนวิชาการแสดง โดยก่อตั้งโรงเรียนการแสดงชื่อ โรงเรียนมรดกใหม่ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และชลประคัลภ์ จันทร์เรือง · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย

ญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย หรือ บุญชู ภาค 6 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2534 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ รัญญา ศิยานนท์ สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ปรารถนา สัชฌุกร วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ กฤษณ์ ศุกระมงคล เกรียงไกร อมาตยกุล อรุณ ภาวิไล จุรี โอศิริ สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต ชาลี อินทรวิจิตร สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และบุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ชไมพร จตุรภุช

มพร จตุรภุช เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2506 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มจากเข้าประกวดนางสาวไทยเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และชไมพร จตุรภุช · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมมิตร โปรดักชั่น

ริษัท พร้อมมิตร โปรดักชั่น จำกัด (อังกฤษ: Prommitr Production Co., Ltd.) เดิมชื่อ พร้อมมิตรภาพยนตร์ เป็นบริษัทจำกัด สร้างภาพยนตร์ไทยและผลิตสื่อบันเทิงประเภทต่าง ๆ ก่อตั้งโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือ ท่านมุ้ย ชื่อบริษัทมาจากชื่อซอยที่ตั้งของ วังละโว้และโรงถ่าย ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ปัจจุบัน มีสำนักงาน ณ เลขที่ 52/25 หมู่ 13 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงและเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร และมีโรงถ่ายทำภาพยนตร์ขนาดใหญ่ (พร้อมมิตร สตูดิโอ) ที่ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ผลิตและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยและละครโทรทัศน์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 จนถึงปัจจุบัน ผลงานเรื่องเด่น ๆ ได้แก่ สุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 และภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ระหว่างปี พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2557 นอกจากนี้ยังเป็นตัวแทนจำหน่ายการ์ดเกมที่มีเนื้อหาจากภาพยนตร์และภาพยนตร์การ์ตูนต่าง ๆ อีกด้วย เช่น ยูกิโอ เป็นต้น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และพร้อมมิตร โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน

กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ภาพยนตร์ไทย กำกับโดย มานพ อุดมเดช ฉายในปี พ.ศ. 2534 โดย บริษัท ที เค อาร์ กรุ๊ป ความยาว 118 นาที นำแสดงโดย สุรศักดิ์ วงษ์ไทย, อังคณา ทิมดี, ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย, มานพ อัศวเทพ เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่เป็นภาพยนตร์ในแนวฟิล์มนัวร์ (Film Noir) โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากเรื่อง The Postman Alway Rings Twice.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และกะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน · ดูเพิ่มเติม »

ภัสสร บุณยเกียรติ

ัสสร เหลียวรักวงศ์ หรือ ภัสสร บุณยเกียรติ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) ประกวดนางสาวไทยได้รางวัลขวัญใจช่างภาพนางสาวไทยปี 2531และได้เป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดนางงามนานาชาติ ปี 1988 ที่ญี่ปุ่นได้รางวัลขวัญใจช่างภาพ เมื่อเธอก้าวลงมาจากเวทีนางงาม สู่การเป็นนักแสดงภาพยนตร์และละครหลายเรื่อง แต่งานที่โด่งดังสุดขีด ทำให้ชาวบ้านเรียกฮันนี่ได้สนิทปาก ก็เห็นจะเป็นงานเพลงชุดแรกในชีวิตในมาดนางเสือสาว ที่ตั้งชื่ออัลบั้มยืดยาวมากกว่าอัลบั้มเพลงยุคนั้น "ดวงตาข้างขวาของฉันคล้ายเป็นเนื้อเยื่อพิเศษ" ภายใต้สังกัด "คีตาเรคคอร์ด" แม้ว่าประสบการณ์การเป็นนักร้องยังอยู่ในระดับที่ยังไม่ถึงที่สุด แต่ตัวเพลงต่างๆ ก็สามารถวางภาพลักษณ์ของเธอได้ดีสมน้ำสมเนื้อไม่น่าเกลียด แต่ที่ยิ่งรักและยิ่งเกลียดที่สุดก็คือ การแสดงคอนเสิร์ตครั้งใหญ่ของเธอ ที่ชาวบ้านเรียกว่า "คอนเสิร์ตเรทอาร์" จนเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์จากหลายๆ ฝ่าย ถึงขั้นมีการจัดอภิปรายและเสวนาเกี่ยวกับความแรงของเธอตามสถาบันชั้นนำต่างๆ เรียกว่าเธอสมเป็นเสือปืนไวจริงๆ ความแรงของงานเพ ลงชุดแรกที่ขายดีมาก บวกกับกระแส จนมีต้องเพิ่มปกพิเศษ "ไม่อยากจะบอกว่าดวงตาข้างซ้ายของฉันก็มีเนื้อเยื่อพิเศษ" ตามออกมาด้วยการเอาบทเพลง "เสือ" มารีมิกซ์ดนตรีใหม่ให้คึกคักกว่าเดิม ฮันนี่ประสบความสำเร็จสูงสุดในช่วงสั้น ๆ เมื่อจู่ๆ เธอทิ้งงานเพลงชุดที่ 2 ที่จะต่อยอดให้เธอกลายเป็นซุปเปอร์สตาร์ ซึ่งทางทีมงานได้เตรียมชื่ออัลบั้มไว้แล้วว่า "น้ำผึ้งร้อนดั่งไฟ ใครโดนมันหลอมละลายทันที" และได้บันทึกเสียงเพลง "จูบสุดท้าย" ที่เป็นซิงเกิ้ลแรกเอาไวเรียบร้อย แต่ฮันนี่ทิ้งทุกอย่าง เพื่อไปใช้ชีวิตครอบครัว และต่อมาในปี 2539 ฮันนี่กกลับมาร้องเพลงอีกครั้งในชุด "ไม่กัดหรอก" โดยภาพลักษณ์ยังยึดคอนเซปท์เดิม แต่ด้วยวัยที่เพิ่มขึ้นจึงสวนทางกับภาพเซ็กซี่ในแบบเก่า จึงทำให้เธอต้องถอยหลัง และกลับไปตั้งหลักกับงานแสดงเป็นงานหลัก ด้านบทบาทการแสดง เริ่มแสดงละครโทรทัศน์เรื่อง ช่อปาริชาต ทางช่อง 7 สี และแสดงภาพยนตร์เรื่อง นักเลง และ แม่เบี้ย ในปี พ.ศ. 2532 จนได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 2 ตัวในปีเดียวกันคือ สาขาผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากเรื่อง แม่เบี้ย และรางวัลดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยมจากเรื่อง นักเลง ฮันนี่จบจากเซ็นต์โยเซฟแล้วเข้าเรียนต่อที่พระนครธุรกิจ ก้าวเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยหลากหลายบทบาททั้งแสดงภาพยนตร์ และถ่ายแบบ ในภาพลักษณ์ที่เน้นความเซ็กซี่ ชีวิตส่วนตัวสมรสกับธีรพงษ์ เหลียวรักวงศ์ ช่างภาพนู้ด มีบุตรชาย 1 คน ชื่อ อินทัช เหลียวรักวงศ์ ปัจจุบันได้เป็นนักแสดงแล้ว จากนั้นหายจากวงการไปพักใหญ่ จนกลับมาแสดงละครให้กับช่องต่าง ๆ อีกครั้ง โดยในปี 2550 ได้รับรางวัล ok!award: sexy foever จากนิตยสาร ok!.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และภัสสร บุณยเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

มานพ อุดมเดช

มานพ อุดมเดช เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย นอกจากนั้นยังเป็นนักเขียนนวนิยาย และนักวิจารณ์ภาพยนตร์ เคยเขียนบทความประจำในนิตยสาร"ถนนหนังสือ" และนิตยสารข่าวพิเศษอาทิตย์รายสัปดาห์ มีผลงานกำกับภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และมานพ อุดมเดช · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา มุกดาสนิท

ทธนา มุกดาสนิท (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และยุทธนา มุกดาสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รัญญา ศิยานนท์

รัญญา ศิยานนท์ (ชื่อจริง: อรัญญา เอกโกศิยนนท์; ชื่อเล่น: บุ๋ม; เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักแสดงและผู้กำกับการแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรัญญา ศิยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี รายละเอียดในแต่ละรายการประกอบด้วย.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อบทภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อบทภาพยนตร์ ที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ นำมาใช้สร้างภาพยนตร์ และได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ดัดแปลง ของการประกวดภาพยนตร์ไทย (ในการประกวดรางวัลตุ๊กตาทอง เดิมใช้ชื่อรางวัลว่า รางวัลบทประพันธ์ยอดเยี่ยม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น รางวัลบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม ตั้งแต่ พิธีมอบรางวัลครั้งที่ 13 ประจำปี พ.ศ. 2524 จนถึงปัจจุบัน) รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม (ช่างกล้อง) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม (ตัดต่อ) การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการลำดับภาพยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลการออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม / รางวัลเพลงนำภาพยนตร์ การประกวดภาพยนตร์ไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รณ ฤทธิชัย

รณ ฤทธิชัย มีชื่อจริงว่า รณฤทธิชัย คานเขต (12 กันยายน พ.ศ. 2492 -) นักแสดงชาวไทยที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรณ ฤทธิชัย · ดูเพิ่มเติม »

วิถีคนกล้า

วิถีคนกล้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2534 กำกับโดย ยุทธนา มุกดาสนิท ซึ่งสร้างจากบทประพันธ์ชื่อเรื่องเดียวกันของ มาลา คำจันทร์(นักกวีซีไรต์) นำแสดงโดย นรินทร์ ทองคำ, ณหทัย พิจิตรา, ธิศวรรณ สุวรรณโพธิ์, จรัล มโนเพ็ชร และ พุฒิชัย (อครา) อมาตยกุล โดยมีประโยคจั่วหัวของเรื่องคือ "ทำให้คนอื่นกลัว ทำให้ไม่กลัวคนอื่น" ภาพยนตร์ได้รับรางวัลมากมายจาก 3 สถาบัน แต่กลับไม่ประสบผลสำเร็จในแง่รายได้ ถึงแม้จะเป็นภาพยนตร์ที่ลงทุนสูงที่สุดในรอบปี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และวิถีคนกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44

.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44 เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายครั้งแรกในปี พ.ศ. 2533 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล นำแสดงโดย จินตหรา สุขพัฒน์, ศศิมาภรณ์ ไชยโกมล, สันติสุข พรหมศิริ, ทิพย์ ธัมมศิริ, สมรัชนี เกษร และ ปวีณา ชารีฟสกุล.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44 · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ วงษ์ไทย

รศักดิ์ วงศ์ไทย (เอ็ม) เกิดวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2508 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และสุรศักดิ์ วงษ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หลงไฟ

หลงไฟ เป็นละครโทรทัศน์แนวเมโลดรามา จากปลายปากกาของ กฤษณา อโศกสิน ที่มีผลงานสร้างเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์โด่งดังมาแล้วมากมาย ไม่ว่าจะเป็น สวรรค์เบี่ยง, เมียหลวง, น้ำผึ้งขม, เลื่อมสลับลาย, ทรายย้อมสี, น้ำเซาะทราย, เพลิงบุญ ฯลฯ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ถึง 3 ครั้งด้วยกัน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และหลงไฟ · ดูเพิ่มเติม »

อังคณา ทิมดี

อังคณา ทิมดี (ชื่อเล่น แอน) เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507 นางแบบ, นักแสดง และนักร้อง เกิดที่จังหวัดกรุงเทพฯ โดยมีพ่อเป็นชาวพม่าเชื้อสายแขก และแม่เป็นชาวไทย เป็นคุณครูสอนอยู่โรงเรียนวัดดอนและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการ มีน้องชายสองคน น้องชายคนโตเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ อังคณา ทิมดี จบการศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพการบัญชี เริ่มเข้าสู่วงการเมื่ออายุ 18 ปีจากการเข้าประกวดเวทีการประกวด Miss Bachelor ของ Bachelor Club และได้คว้าตำแหน่งอันดับสอง จากนั้นจึงได้เซ็นสัญญาเป็นนางแบบในสังกัดของคลับหนึ่งปี และมีผลงานถ่ายแบบ เดินแบบ รวมทั้งงานโฆษณาต่างๆ มากมาย ไม่ว่าเป็น โกดัก, ยาสระผมเฟลกซ์, รถซูซูกิ, ชุดว่ายน้ำไทรอัมพ์, เสื้อผ้า LTD รถยนต์ไดฮัทสุ มิร่า, เครื่องสำอางคาเนโบฯ และที่สร้างชื่อเสียงให้กับเธอที่สุด คือโฆษณาเนสกาแฟ เอ็กตร้า เชค ในช่วงฤดูร้อนปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และอังคณา ทิมดี · ดูเพิ่มเติม »

อำพล ลำพูน

อำพล ลำพูน หรือ "ร็อกเกอร์มือขวา" เป็นนักร้องนำวง ไมโคร และนักแสดงชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อมากมาย เช่น วัยระเริง น้ำพุ และยังมีวงดนตรีที่ได้รับความประสบความสำเร็จด้วยในนามไมโคร แต่อัลบั้มที่ดีที่สุดของอำพลนั้น คือชุดที่แตกออกมาจากไมโคร นั่นคือชุดวัตถุไวไฟ จากการได้สุดยอดมือกีตาร์สุดเทพอันดับ7ประเทศไทยอย่าง ศิริพงษ์ หรเวชกุล (แย้ เดอะ คิดส์) มาร่วมงาน พร้อมสุดยอดมือกลองอย่าง หรั่ง เดอ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และอำพล ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

อครา อมาตยกุล

อัครา อมาตยกุล เกิด 19 เมษายน พ.ศ. 2517 เป็นนักแสดงชาวไทย หลานของคุณตามงคล อมาตยกุล ครูเพลงผู้สร้างนักร้องประดับวงการเพลงลูกทุ่งไทยมากมาย สำเร็จการศึกษาด้านกราฟิกดีไซน์จาก Fashion Institute of Technology นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา มีน้องสาว 1 คน คือ ธนสร อมาตยกุล ผู้ประกาศข่าวช่อง 3.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และอครา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์จิรา จูแจ้ง

ันทร์จิรา จูแจ้ง เกิดเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2510 (บางข้อมูลระบุว่า เกิด พ.ศ. 2510) เป็นนักแสดง ผู้ผลิตรายการ และผู้จัดละคร ชาวไทย จบมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี)จบการศึกษาจากเซนต์จอห์นอาชีวศึกษา ต่อมาทำงานเป็นพนักงานประจำของการประปาส่วนภูมิภาค ตำแหน่งเสมียน ได้งานชิ้นแรกเป็นโฆษณานีเวีย ถ่ายเฉพาะมือ ต่อมาก้าวสู่การเป็นนางแบบโฆษณา และเป็นนักแสดง โดยเริ่มแสดงภาพยนตร์เรื่อง "รักแรกอุ้ม" ในบทคุณแม่ยังสาว คู่กับ ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย ตามด้วย "พริกขี้หนูกับหมูแฮม", "ทวิภพ", "ต้องปล้น" ฯลฯ และมีผลงานละครอย่างเรื่อง "นาคราช", "ด้วยสองมือแม่นี้ที่สร้างโลก", "จับตายวายร้ายสายสมร", "ท่านชายกำมะลอ", "รักสุดท้ายที่ปลายฟ้า", "ผู้หญิงคนนั้นชื่อบุญรอด", "นางร้าย", "เจ้านายวัยกระเตาะ", "รถด่วนขบวนสุดท้าย", "นารีสโมสร" ฯลฯ นอกจากนี้ยังเปิดบริษัท ดวงมาลี มณีจันทร์ ทำรายการกับช่อง 3 อย่าง "สตรอเบอร์รี่ ชีสเค้ก" ต่อมาทำละครเรื่องแรก "นางสาวผ้าขี้ริ้ว" ตามมาด้วยเรื่อง "ก๊วนกามเทพ" "เรือนริษยา" และเรื่องล่าสุด เฮฮาเมียนาวี จันทร์จิรา จูแจ้ง เคยได้รับรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม จากการแสดงในเรื่อง ต้องปล้น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และจันทร์จิรา จูแจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์

ตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2514 เป็นอดีตนักแสดง และผู้ประกาศรายการทางช่อง 7 มีผลงานสร้างชื่อเสียงจากละครกันตนาหลายเรื่อง กับภาพยนตร์เรื่อง เวลาในขวดแก้ว เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และจิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และจินตหรา สุขพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิภพ

ละครโทรทัศน์ ทวิภพ พ.ศ. 2537 ทวิภพ เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของ "ทมยันตี" ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทย ใช้เวลา 2 ปี ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักต่างภพ ระหว่างอดีตและปัจจุบันมาบรรจบกัน โดยมีเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองมาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้มีอรรถรส ในการอ่านให้ดูเข้มขึ้น บทประพันธ์ชิ้นนี้ คุณทมยันตี ได้ใส่รายละเอียดของความเป็นอยู่ของบุคคลในสมัยเก่าได้อย่างแนบเนียนยิ่ง เป็นนวนิยายรักที่แฝงไปด้วยเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองและเกร็ดความรู้ทางด้านความเป็นอยู่ของบุคคลสมัยนั้นเป็นอย่างดี ถึงแม้เยาวชนหรือวัยรุ่นอ่านก็เหมาะสม เพราะไม่ได้มีความรักที่เป็นเรื่องราวของทาง "เพศ" แต่เป็นเรื่องราวความรักที่มีความผูกพันข้ามชาติที่ดูลึกซึ้ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และทวิภพ · ดูเพิ่มเติม »

ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย

รศักดิ์ รัตนนิสสัย มีชื่อเสียงจากการแสดงนำในภาพยนตร์เรื่อง "รักแรกอุ้ม" ในปี พ.ศ. 2531 และ "พริกขี้หนูกับหมูแฮม" ในปี พ.ศ. 2532 จากนั้นในปี พ.ศ. 2534 ได้แสดงในบท ตวง ในภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์เรื่องแรกของวงการภาพยนตร์ไทย คือ กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ประกบคู่กับ สุรศักดิ์ วงษ์ไทย และ อังคณา ทิมดี จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 ด้วยท่าทีที่ยียวน ชอบหลิ่วตาและทำปากเบ้เหมือนโรเบิร์ต มิตชั่ม ดาราฮอลลีวู้ด ขจรศักดิ์จึงได้ออกอัลบั้มเพลงในสังกัดแกรมมี่ในมาดกวน ๆ ในชื่อชุด "สงวนลิขสิทธิ์" มีเพลงที่ฮิตและได้รับความนิยมมาจนปัจจุบัน คือ "อย่าคิดมาก", "ใครไม่เกี่ยวก็ถอยไป", "พ่อ" เป็นต้น หลังจากนั้น บทบาทในวงการบันเทิงของขจรศักดิ์ก็ได้ห่างหายไป จนปัจจุบัน ได้รับบทเป็นตัวประกอบในภาพยนตร์บางเรื่องบ้าง เช่น เสือ โจรพันธุ์เสือ ในปี พ.ศ. 2541, 102 ปิดกรุงเทพปล้น ในปี พ.ศ. 2547, รักสยามเท่าฟ้า ในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย · ดูเพิ่มเติม »

คนเลี้ยงช้าง

นเลี้ยงช้าง ภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และคนเลี้ยงช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และฉัตรชัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ซีอุย

ซีอุย (พ.ศ. 2470 — 16 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นชื่อของชาวจีน ที่สันนิษฐานว่าเป็นฆาตกรที่ฆ่าเด็กและนำตับมาต้มกินในช่วงปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และซีอุย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา ชารีฟสกุล

ปวีณา ชารีฟสกุล เกิดเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2509 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย เป็นบุตรคนที่ 2 ของนายชูศักดิ์ และนางวิภาวัลย์ ชารีฟสกุล จบการศึกษาจากโรงเรียนมักกะสันพิทยา จากนั้นศึกษาต่อที่โรงเรียนอาชีวศิลป์ศึกษา เธอเข้าไปสมัครเล่นเกมโชว์ ในรายการ เอาไปเลย ดำเนินรายการโดยไตรภพ ลิมปพัทธ์ ซึ่งไตรภพเห็นว่ามีหน่วยก้านดีจึงชักชวนมาเป็นผู้ช่วยพิธีกร แต่ทำได้เพียงเดือนกว่ากันตนาก็ชักชวนเธอไปเล่นละคร แสดงเรื่องแรกคือ แม่น้ำ และแสดงอีกหลายเรื่องเช่นเรื่อง ลูกแม่ ต่อจากนั้นอิทธิ พลางกูรชักชวนเธอทำผลงานเพลง ออกผลงานชุด นัดกันแล้ว และ นี่แหละตัวฉัน กับค่ายครีเอเทีย ได้รับการตอบรับพอสมควร ในเวลาต่อมาค่ายเพลงที่เธอสังกัดอยู่ก็ประสบปัญหาจึงปิดตัวไป ทำให้เธอต้องหยุดผลงานเพลงเช่นเดียวกัน ต่อมาเธอโอนไปสังกัด เอสพี ศุภมิตร และออกผลงานอัลบั้มชุด ไม่ใช่ของเล่น ที่มียอดขายกว่าแสนตลับ ส่วนด้านการแสดง เธอได้รับบทบาทที่หลากหลายทั้งบทนำ และบทรอง แต่ความสำเร็จในอาชีพการแสดงของเธอนั้นมาถึงเมื่อเธอได้รับการเสนอเข้าชิงในสาขาดาราประกอบฝ่ายหญิง ทั้งจากงานตุ๊กตาทองและงานภาพยนตร์แห่งชาติ จากผลงานการแสดงเรื่อง คนทรงเจ้า และต่อมาเธอก็ได้รับรางวัลด้านการแสดงสาขานางเอกนำดีเด่น จากงานภาพยนตร์แห่งชาติครั้งที่ 1 และ ได้รับรางวัลแสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง จากภาพยนตร์ เวลาในขวดแก้ว ผลงานแสดงในยุคหลังเธอยังแสดงใน ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และภาพยนตร์ ลองของ 2.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และปวีณา ชารีฟสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปุกปุย

ปุกปุย เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดยอุดม อุดมโรจน์ ออกฉายในปี พ.ศ. 2533 ภาพยนตร์ทำรายได้ 8 ล้านบาท และยังได้รับรางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยมจากชมรมวิจารณ์บันเทิง รางวัลผู้แสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม จากชมรมวิจารณ์บันเทิง รางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยมจากสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย (รางวัลตุ๊กตาทอง) รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมสาขาส่งเสริมครอบครัวจากสื่อมวลชนคาทอลิคแห่งประเทศไทย นอกจากนั้นยังเป็นตัวแทนภาพยนตร์ไทยเข้าร่วมในโครงการสัปดาห์ภาพยนตร์อาเซียนครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นตัวแทนภาพยนตร์ไทยเข้าร่วมประกวดในงานโตเกียวอินเตอร์เนชันนอลฟิล์มเฟสติวัล 1991 ที่ประเทศญี่ปุ่น"10 ปี ไท เอนเตอร์เทนเม้นท์", นิตยสารอานนท์ ฉบับธันวาคม 2536-มกราคม 2537 หน้า 152-157.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และปุกปุย · ดูเพิ่มเติม »

แรงฤทธิ์พิศวาส

แรงฤทธิ์พิศวาส 2549 แรงฤทธิ์พิศวาส เป็นละครแนวดราม่า จากบทประพันธ์และบทโทรทัศน์ของ คนหลังม่าน กำกับการแสดงโดย อนุวัฒน์ ถนอมรอด ออกอากาศเมื่อ 20 ธันวาคม 2549 – 31 มกราคม 2550 ทุกวัน พุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.30น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และแรงฤทธิ์พิศวาส · ดูเพิ่มเติม »

ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น

ฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เป็นบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ของไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดย เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เดิมชื่อว่า บริษัทนิวไฟว์สตาร์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2523 โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้ดำเนินการผลิตภาพยนตร์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อความบันเทิงทั้งในและต่างประเทศตลอดระยะเวลา 40 ปี ภาพยนตร์ของ ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้รับความนิยมชมชอบแทบทุกเรื่องในสมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนศึก, ลูกอีสาน, ผู้ใหญ่ลีกับนางมา, บุญชู, น้ำพุ, วัยระเริง, อนึ่งคิดถึงพอสังเขป, กลิ่นสีและกาวแป้ง, กว่าจะรู้เดียงสา, ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44, คู่กรรม, อำแดงเหมือนกับนายริด, หวานมันส์ ฉันคือเธอ, ด้วยเกล้า, หลังคาแดง, ฟ้าทะลายโจร, มนต์รักทรานซิสเตอร์ เป็นต้น หลังจาก เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร ถูกโส ธนวิสุทธิ์ ลอบยิงเสียชีวิต เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และไฟว์สตาร์โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์

ท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ เป็นบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2547 บริหารงานโดยสองอาหลาน คือ จรัล พูลวรลักษณ์ และ วิสูตร พูลวรลักษณ์ โดยเป็นค่ายหนังไทยที่พลิกหน้าวงการ ด้วยการผลิตภาพยนตร์ที่จับกระแสของกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นได้ตรงจุด มีงานสร้างคุณภาพอย่างพิถีพิถัน ทันสมัย ไม่เหมือนใคร โดยเริ่มสร้างภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ซึมน้อยหน่อย กะล่อนมากหน่อย และยังได้สร้างภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง จนประสบความสำเร็จอย่างสูงทั้งรายได้และรางวัลจากสถาบันต่างๆ เคยควบกิจการร่วมกับ จีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์ และ หับ โห้ หิ้น ตั้งบริษัทใหม่ในนาม จีเอ็มเอ็ม ไท หับ (GTH) ภายหลังจากการร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน จนกระทั้งได้ขอแยกตัวออกจากการควบรวม และออกมาประกาศการยุบ GTH เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 โดยจะมีผลวันที่ 31 ธันวาคม 2558 รวมเวลาที่ควบรวมกิจการในชื่อ GTH 11 ปี ปัจจุบันได้ตัังบริษัทใหม่ในนาม ที โมเมนต์ ร่วมกับ โมโน เทคโนโลยี ในวันที่ 27 มกราคม 2559.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เชิด ทรงศรี

ทรงศรี เป็นชื่อและนามสกุลจริงที่ใช้ในการกำกับภาพยนตร์ทุกเรื่อง ส่วนนามปากกา ธม ธาตรี ใช้ในงานเขียนนวนิยายและเขียนบทภาพยนตร์ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์แนวหน้าชาวไทย มีผลงานกำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง และได้รับรางวัลมากมาย เชิด ทรงศรีเกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และเชิด ทรงศรี · ดูเพิ่มเติม »

เวลาในขวดแก้ว

วลาในขวดแก้ว เป็นนวนิยายไทยของ ประภัสสร เสวิกุล มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตและปัญหาของวัยรุ่นในด้านต่างๆ ทั้งครอบครัว ความรัก การศึกษา สังคม และการเมือง จัดพิมพ์เป็นพ็อคเก็ตบุ๊คครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2534 ได้มีการสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย โดย ประยูร วงศ์ชื่น นำแสดงโดย นฤเบศร์ จินปิ่นเพชร, ปวีณา ชารีฟสกุล และ วาสนา พูนผล ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จทั้งรายได้และคำนิยม โดยได้รับรางวัลจากสองสถาบันคือ รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2534 จำนวน 4 รางวัล และรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และเวลาในขวดแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »