โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นกหวีด เดวี่

ดัชนี นกหวีด เดวี่

นกหวีด เดวี่ เป็นอดีตนักมวยไทยและผู้ฝึกสอนมวยไทย เกิดเมื่อปี..

18 ความสัมพันธ์: มวยไทยสกัด พรทวีสนามมวยราชดำเนินหลักหิน ซีพียิมอำเภอสิชลอำเภอหลังสวนอำเภอเกาะสมุยผู้ฝึกสอนจังหวัดชุมพรจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดนครศรีธรรมราชซูเปอร์แบนตั้มเวทนักมวยไทยแสงเทียนน้อย ส.รุ่งโรจน์ไลท์เวทเฟเธอร์เวทเวลเตอร์เวทเค-วัน

มวยไทย

มวยไทย มวยไทย เป็นศิลปะการต่อสู้จากประเทศไทย มีความโดดเด่นด้านเทคนิคการกอดคอต่อสู้ ซึ่งเป็นการใช้ทั้งกายและใจ สำหรับการต่อสู้ที่ใช้ร่างกายเป็นอาวุธ โดยเป็นที่รู้จักว่าเป็น "นวอาวุธ" ซึ่งประกอบด้วยการโจมตีจากร่างกายทั้ง หมัด, ศอก, เข่า และเท้า หากมีการเตรียมพร้อมด้านร่างกายดี จะก่อให้เกิดอาวุธที่มีอานุภาพ มวยไทยได้เป็นที่แพร่หลายในระดับนานาชาติในช่วงศตวรรษที่ยี่สิบ เมื่อเหล่านักมวยไทยสามารถเป็นฝ่ายชนะนักต่อสู้ที่มีชื่อเสียงในแขนงอื่น ซึ่งการแข่งขันมวยไทยในระดับอาชีพ ได้รับการดูแลโดยสภามวยไทยโลก ปัจจุบัน ทางสหพันธ์มวยไทยสมัครเล่นนานาชาติ (IFMA) มีแผนที่จะผลักดันกีฬามวยไทยเข้าสู่กีฬาโอลิมปิก และใน..

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และมวยไทย · ดูเพิ่มเติม »

สกัด พรทวี

กัด พรทวี หรือ สกัด เพชรยินดี มีชื่อว่า วิรุฬห์ ผลพิมาย เป็นชาวอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และสกัด พรทวี · ดูเพิ่มเติม »

สนามมวยราชดำเนิน

้านหน้าเวที ในเวลากลางคืน สนามมวยราชดำเนิน หรือ เวทีมวยราชดำเนิน (Rajadamnern Stadium) เวทีมวยระดับมาตรฐานหนึ่งในสองแห่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร สนามมวยราชดำเนินก่อตั้งขึ้นโดยดำริของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยให้สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างขึ้น โดยเริ่มก่อสร้างตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 มาเสร็จสิ้นหลังสงครามสงบแล้ว ในปี..

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และสนามมวยราชดำเนิน · ดูเพิ่มเติม »

หลักหิน ซีพียิม

หลักหิน ซีพียิม มีชื่อจริงว่า วิชิต ลาภมี เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่ อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสถิติการชกทั้งหมด 30 ครั้ง ชนะ 28 (น็อค 18) เสมอ 2 หลักหิน เดิมเคยเป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงมาก่อน ในชื่อ "หลักหิน วสันตสิทธิ์" ก่อนจะหันมาชกมวยสากลอาชีพด้วยการเป็นนักมวยสร้างของ "แชแม้" นิวัฒน์ เหล่าสุวรรณวัฒน์ โดยหมายจะให้เป็นแชมป์โลกคนแรกที่เป็นชาวใต้ เคยชิงแชมป์โลกครั้งหนึ่งที่จังหวัดนครศรีธรรมราช บ้านเกิดของหลักหินเองกับ ดาวรุ่ง ชูวัฒนะ นักมวยชาวไทยด้วยกันเอง ในรุ่นแบนตั้มเวทของสมาคมมวยโลก (WBA) ในปี พ.ศ. 2538 การชกของทั้งคู่เป็นไปอย่างสูสี และเมื่อครบ 12 ยก ปรากฏว่าผลออกมาเสมอกันไป ต่อมา ภายหลังแขวนนวม หลักหินได้ถูกตำรวจจับในข้อหาค้ายาบ้าถึง 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2545.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และหลักหิน ซีพียิม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิชล

ล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และอำเภอสิชล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหลังสวน

หลังสวน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และอำเภอหลังสวน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเกาะสมุย

อำเภอเกาะสมุย เป็นอำเภอที่มีสภาพเป็นหมู่เกาะในอ่าวไทยอยู่ในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่ 1 ใน 3 เป็นที่ราบซึ่งล้อมรอบด้วยภูเขา เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งทางฝั่งทะเลอ่าวไทย อำเภอเกาะสมุยมีพื้นที่ของเกาะต่าง ๆ รวมกันรวมประมาณ 252 ตารางกิโลเมตร เฉพาะตัวเกาะสมุยเองมีพื้นที่ประมาณ 228 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามของประเทศไทยรองจากเกาะภูเก็ตและเกาะช้าง.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และอำเภอเกาะสมุย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ฝึกสอน

ผู้ฝึก หรือ ผู้ชี้แนะ (coach) คือคนที่มีหน้าที่ในการกำหนดทิศทางการเล่นและออกคำสั่งหรือคำแนะนำต่าง ๆ ให้กับนักกีฬา เพื่อใช้เวลาลงสนามการแข่งขันกีฬา โดยอาจจะกล่าวได้ว่าผู้ฝึกเป็นคนกำหนดยุทธศาสตร์และวิธีการของการแข่งกีฬาให้กับนักกีฬาของตน ซึ่งผู้ฝึกส่วนใหญ่ก็คือนักกีฬาคนหนึ่งที่เคยเล่นและเข้าใจในกีฬาประเภทหนึ่ง ๆ เป็นอย่างดี โดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ผู้ฝึกอาจจะมีผู้ช่วยในการทำงานอยู่ และตัวผู้ฝึกเองก็ถือได้ว่าเป็นผู้ที่เป็นตัวแทนความสำเร็จของนักกีฬาที่ตนเองฝึกสอนมา บ่อยครั้งที่การฝึกสอนผู้เล่นหรือการวางตัวผู้เล่นจะเป็นหน้าที่ของผู้ช่วย ส่วนผู้ฝึกนั้นจะมีหน้าที่ใหญ่อื่น ๆ เช่น การวางวิสัยทัศน์ให้กับทีม การกำหนดยุทธศาสตร์หลักของทีมเพื่อเอาไว้ใช้ในการฝึกนักกีฬาต่อไป.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และผู้ฝึกสอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์แบนตั้มเวท

ซูเปอร์แบนตั้มเวท (Super bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยที่อยู่ระหว่างรุ่นแบนตั้มเวทกับรุ่นเฟเธอร์เวท โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) และไม่เกิน 122 ปอนด์ (55.338 กิโลกรัม) สถาบันแรกที่ก่อตั้งรุ่นนี้ขึ้นมา คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี ค.ศ. 1976 โดยเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์แบนตั้มเวท ทางสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) รวมทั้งในวงการมวยไทยจะเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า จูเนียร์เฟเธอร์เวท (Junior featherweight) โดยพิกัดนี้ไม่มีบรรจุไว้ในการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่น สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้ มีทั้งหมด 4 คน ได้แก่ สามารถ พยัคฆ์อรุณ, ยอดดำรงค์ ศิษย์ยอดธง, สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์ และ พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม และนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียง ที่เคยชกในพิกัดนี้ อาทิ วิลเฟรโด โกเมซ, กัวดา ลูเป้ พินเตอร์, ฮวน คิด เมซ่า, เจฟฟ์ เฟเนค, อซูม่าห์ เนลสัน, อีริค โมราเลส, แมนนี่ ปาเกียว, โตชิอากิ นิชิโอกะ เป็นต้น.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และซูเปอร์แบนตั้มเวท · ดูเพิ่มเติม »

นักมวยไทย

นักมวยไทยกับการไหว้ครูรำมวยซึ่งเป็นการร่ายรำก่อนทำการแข่งขันมวยไทย นักมวยไทย หมายถึงนักมวยในกีฬามวยไทย จนถึงปัจจุบันนี้ มีนักมวยไทยจากค่ายมวยไทยมากมายทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีสถาบันฝึกสอนนักมวยไทยทั้งที่เป็นสำนักเรียน สถาบันการพลศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนวิชามวยไทยในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึงได้มีโครงการจัดสอนถึงระดับปริญญาเอก รวมถึงมีองค์กรส่งเสริมควบคุมมาตรฐานและการจัดการแข่งขันมวยไทยระดับชาติและนานาชาติ มีกฎหมายในการควบคุมและคุ้มครองการจัดชกมวย ทั้งนี้ ฉายาของนักมวยไทย มักมีที่มาจากในหลายลักษณะ อาทิ ลักษณะการชก ความแข็งแกร่ง ความสามารถ และอาจรวมถึงเอกลักษณ์เฉะพาะตัว หรือในบางครั้ง อาจตั้งตามกระแสสังคม หรือ นำมาจากผู้มีชื่อเสียงในวงการต่างๆ เช่น การเมือง บันเทิง กีฬา มาเป็นแบบอย่าง โดยทั่วไปในปัจจุบัน เครื่องแต่งกายของนักมวยไทยจะสวมกางเกงขาสั้น และมีการสวมใส่นวม มีประเจียดรัดต้นแขน และมงคลสวมศีรษะขณะทำการไหว้ครูรำมว.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และนักมวยไทย · ดูเพิ่มเติม »

แสงเทียนน้อย ส.รุ่งโรจน์

.รุ่งโรจน์) เจ้าของฉายา "จอมจุมพิต" กับเชอรี่ ส.วานิช แสงเทียนน้อ.รุ่งโรจน์ หรือ แสงเทียนน้อย ศิษย์สุรพงษ์ เป็นทั้งนักมวยไทยและหัวหน้าค่ายมวยที่มีชื่อเสียง ผู้เป็นเจ้าของฉายา "จอมจุมพิต".

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และแสงเทียนน้อย ส.รุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลท์เวท

ลท์เวท (Lightweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กรุ่นหนึ่ง โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 130 ปอนด์ (58.967 กิโลกรัม) และไม่เกิน 135 ปอนด์ (61.235 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด สำหรับนักมวยไทยยังไม่เคยมีใครได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้ และยังไม่เคยประสบความสำเร็จในแบบมวยสากลสมัครเล่นระดับโลก เช่น กีฬาโอลิมปิก เป็นต้น สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียง ที่ชกในพิกัดนี้ ได้แก่ อเล็กซิส อาร์กูเอลโล่, คิม ดุ๊กกู, โรแบร์โต ดูรัน, เจฟฟ์ เฟเนค, อซูม่าห์ เนลสัน, มิเกล แองเจิล กอนซาเลซ, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ออสการ์ เดอ ลา โฮยา, แมนนี่ ปาเกียว, อาเมียร์ ข่าน เป็นต้น สำหรับประวัติศาสตร์ของรุ่นไลท์เวท ถือว่าเป็นพิกัดน้ำหนักมวย 3 รุ่นแรกของโลกด้วย โดยถือกำเนิดขึ้นมาในปี ค.ศ. 1850 พร้อมกับรุ่นมิดเดิลเวท และเฮฟวี่เวท.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และไลท์เวท · ดูเพิ่มเติม »

เฟเธอร์เวท

ฟเธอร์เวท (Featherweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กรุ่นหนึ่ง นักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 122 ปอนด์ (55.338 กิโลกรัม) และไม่เกิน 126 ปอนด์ (57.153 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด สำหรับนักมวยไทยยังไม่เคยมีใครเป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้ (เคยมีหนึ่งคน คือ ก้องธวัช ส.กิตติ แต่เป็นแชมป์โลกในสถาบันสหพันธ์มวยโลก (WBF) ซึ่งเป็นสถาบันที่ไม่ได้รับการยอมรับ) แต่สำหรับมวยสากลสมัครเล่นแล้ว เคยมีนักมวยไทยครองเหรียญทองโอลิมปิกมาแล้ว ในปี ค.ศ. 1996 คือ สมรักษ์ คำสิงห์ สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียง ที่เคยชกหรือชกในพิกัดนี้ อาทิ ซัลวาดอร์ ซันเชซ, วิลเฟรโด วาสเควซ, หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา, นาซีม ฮาเหม็ด, แมนนี่ ปาเกียว, อีริค โมราเลส, คริส จอห์น เป็นต้น.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และเฟเธอร์เวท · ดูเพิ่มเติม »

เวลเตอร์เวท

วลเตอร์เวท (Welterweight) เป็นพิกัดน้ำหนักมวย ทั้งมวยสากลอาชีพและมวยสากลสมัครเล่นระดับกลางรุ่นหนึ่ง ที่อยู่ระหว่างรุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวทและซูเปอร์เวลเตอร์เวท โดยนักมวยที่จะชกในพิกัดนี้ ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 140 ปอนด์ (63.503 กิโลกรัม) และไม่เกิน 147 ปอนด์ (66.678 กิโลกรัม) รุ่นเวลเตอร์เวทจัดได้ว่าเป็นพิกัดน้ำหนักที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ด้วยความที่เป็นนักมวยพิกัดขนาดกลาง มีนักมวยจำนวนมากที่มีชื่อเสียงที่ชกในรุ่นนี้ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ได้แก่ เฮนรี่ อาร์มสตรอง (ซึ่งถือได้ว่าป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นนี้ได้มากที่สุดอีกด้วย คือ 18 ครั้ง และมากที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก), ชูการ์ เรย์ โรบินสัน, คิด กาวิแลน, ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด, โธมัส เฮิร์นส์, โรแบร์โต้ ดูรัน, โดนัลด์ เคอร์รี่, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, เพอร์เนล วิเทเกอร์, ออสการ์ เดอ ลา โฮยา, เฟลิกซ์ ทรินิแดด, เชน มอสลีย์, อาร์ตูโร กัตติ, มิเกล คอตโต, แมนนี่ ปาเกียว, ฟลอยด์ เมย์เวทเธอร์ จูเนียร์, ฮวน มานูเอล มาร์เกวซ เป็นต้น สำหรับนักมวยชาวไทย ยังไม่เคยมีใครได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้ แต่มีนักมวยสากลสมัครคนหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ คือ ได้เหรียญทองแดงในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เมื่อปี ค.ศ. 1992 ในการแข่งขันที่บาร์เซโลน่า ประเทศสเปน คือ อาคม เฉ่งไล่ ในส่วนของนักมวยอาชีพ ถึงแม้จะยังไม่มีแชมป์ในระดับโลก แต่ก็มีนักมวยที่มีชื่อเสียงหรือเป็นแชมป์ในระดับภูมิภาค อาทิ สมพงษ์ เวชสิทธิ์, สมเดช ยนตรกิจ, อภิเดช ศิษย์หิรัญ, ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์, ถิรชัย อ.เอกรินทร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และเวลเตอร์เวท · ดูเพิ่มเติม »

เค-วัน

-วัน (K-1) คือ กีฬาต่อสู้ที่นำศิลปะการต่อสู้แขนงต่าง ๆ มาสู้กัน เช่น มวยไทย คาราเต้ คิกบ็อกซิ่ง กังฟู เทควันโด มวยสากล และอื่น ๆ โดยใช้กติกาเดียวกันคือ ห้ามศอกและโน้มคอตีเข่า กีฬานี้เริ่มในปี พ.ศ. 2537 โดยอาจารย์คาซูโยชิ อิชิอิ (Kazuyoshi Ishii) เจ้าสำนักเซโดไคคังคาราเต้ ในประเทศญี่ปุ่น มีการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 โดยฟูจิทีวี.

ใหม่!!: นกหวีด เดวี่และเค-วัน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »