โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ถนนเพชรเกษม vs. รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123. ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 3 สำหรับภาคกลาง รวมภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และบางส่วนในภาคใต้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 มี 17 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานครภาคใต้ (ประเทศไทย)รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3ถนนบรมราชชนนีถนนพระรามที่ 2ถนนพุทธมณฑล สาย 4ถนนพุทธมณฑล สาย 5ถนนพุทธมณฑล สาย 6ถนนพุทธมณฑล สาย 7ถนนมาลัยแมนถนนประจวบคีรีขันธ์ถนนแสงชูโตถนนเศรษฐกิจ 1ถนนเอกชัยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและถนนเพชรเกษม · กรุงเทพมหานครและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ถนนเพชรเกษมและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ภาคใต้ (ประเทศไทย)และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 3 สำหรับภาคกลาง รวมภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และบางส่วนในภาคใต้.

ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบรมราชชนนี

นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.

ถนนบรมราชชนนีและถนนเพชรเกษม · ถนนบรมราชชนนีและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ถนนพระรามที่ 2และถนนเพชรเกษม · ถนนพระรามที่ 2และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 4

right ถนนพุทธมณฑล สาย 4 (Thanon Phutthamonthon Sai 4) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3310 สายกระทุ่มล้ม - พุทธมณฑล เป็นถนนผิวแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 8 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ทางหลวงชนบท นฐ.4006 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา ทางแยกต่างระดับศาลายา (ตัดกับถนนบรมราชชนนี) วิทยาลัยราชสุดา ผ่านถนนอุทยาน พุทธมณฑล สถานีวิทยุพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษมบริเวณสี่แยกสาครเกษม ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ระยะทาง 10.814 กิโลเมตร ปัจจุบันทางหลวงแผ่นดินดังกล่าวอยู่ในความดูแลของหมวดการทางกระทุ่มแบน แขวงการทางสมุทรสาคร ยกเว้นตั้งแต่หลักกิโลเมตรที่ 0 ถึงหลักกิโลเมตรที่ 1+680 อยู่ในความดูแลของเทศบาลนครอ้อมน้อ.

ถนนพุทธมณฑล สาย 4และถนนเพชรเกษม · ถนนพุทธมณฑล สาย 4และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 5

ถนนพุทธมณฑล สาย 5 (Thanon Phutthamonthon Sai 5) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3414 สายอ้อมน้อย - ศาลายา มีจุดเริ่มต้นตั้งตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม วิทยาลัยนาฏศิลป์ หอภาพยนตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตศาลายา คลองวัฒนา จนถึงแยกอ้อมน้อย ถนนเพชรเกษม อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เดิมเป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร ปัจจุบันได้มีการขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจร พร้อมกับมีการสร้างสะพานข้ามถนนบรมราชชนนี แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2559 หมวดหมู่:โครงการพุทธมณฑล 3414 4-3414 พุทธมณฑล สาย 5 พุทธมณฑล สาย 5.

ถนนพุทธมณฑล สาย 5และถนนเพชรเกษม · ถนนพุทธมณฑล สาย 5และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 6

นนพุทธมณฑล สาย 6 (Thanon Phutthamonthon Sai 6) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3316 สายไร่ขิง - ทรงคนอง มีจุดเริ่มต้นตั้งอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม บริเวณแยกถนนบรมราชชนนี-ถนนร.

ถนนพุทธมณฑล สาย 6และถนนเพชรเกษม · ถนนพุทธมณฑล สาย 6และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 7

ถนนพุทธมณฑล สาย 7 (Thanon Phutthamonthon Sai 7) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3415 สายสามพราน - แม่น้ำนครชัยศรี มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่แม่น้ำท่าจีน ตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม จนถึงถนนเพชรเกษม จังหวัดนครปฐม ใกล้กับโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หมวดหมู่:โครงการพุทธมณฑล 3415 4-3415 พุทธมณฑล สาย 7.

ถนนพุทธมณฑล สาย 7และถนนเพชรเกษม · ถนนพุทธมณฑล สาย 7และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมาลัยแมน

นนมาลัยแมน หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 สายนครปฐม–สุพรรณบุรี เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ไป-กลับ มีจุดเริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 บริเวณสามแยกมาลัยแมน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ผ่านอำเภอกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เข้าสู่เขตจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านอำเภอสองพี่น้อง อำเภออู่ทอง สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางรวม 106.273 กิโลเมตร ถนนมาลัยแมนเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายนครปฐม-สุพรรณบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ถนนมาลัยแมนและถนนเพชรเกษม · ถนนมาลัยแมนและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประจวบคีรีขันธ์

นนประจวบคีรีขันธ์ (Thanon Prachuap Khiri Khan) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 326 สายทางเข้าประจวบคีรีขันธ์ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ถนนประจวบคีรีขันธ์และถนนเพชรเกษม · ถนนประจวบคีรีขันธ์และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแสงชูโต

นนแสงชูโต หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 สายหนองตะแคง–เจดีย์สามองค์ บ้างก็เรียก ถนนบ้านโป่ง–กาญจนบุรี–ด่านเจดีย์สามองค์ เป็นทางหลวงแผ่นดินในภาคตะวันตกของประเทศไทย เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ผ่านจังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เชื่อมต่อกับประเทศพม่า ที่ด่านเจดีย์สามองค์ ระยะทางรวม 287.167 กิโลเมตร (อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 276.991 กิโลเมตร) ก่อสร้างขึ้นเพื่อรองรับการคมนาคมทางบกนอกเหนือจากทางรถไฟสายธนบุรี–น้ำตก ซึ่งเป็นทางรถไฟเก่าแก่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และทางเรือผ่านแม่น้ำแคว.

ถนนเพชรเกษมและถนนแสงชูโต · ถนนแสงชูโตและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเศรษฐกิจ 1

นนเศรษฐกิจ 1 (Thanon Setthakit 1) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3091 สายอ้อมน้อย - สมุทรสาคร เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 4-6 ช่องจราจรไป-กลับ แยกจากถนนเพชรเกษมที่ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร แยกไปทางซ้ายที่สามแยกกระทุ่มแบน ผ่านทางต่างระดับกระทุ่มแบน บรรจบกับถนนพุทธสาคร (ทางหลวงชนบท สค.4018) แยกไปทางขวา เข้าสู่เขตอำเภอเมืองสมุทรสาคร ผ่านทางแยกต่างระดับมหาชัย ตัดกับถนนพระรามที่ 2 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35) สิ้นสุดที่สี่แยกมหาชัย ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร รวมระยะทางที่ควบคุมโดยกรมทางหลวง 19.8 กิโลเมตร (ไม่นับรวมทางของเทศบาลนครสมุทรสาคร) ผ่าน 2 อำเภอ คืออำเภอเมืองสมุทรสาคร (ตำบลมหาชัย ตำบลท่าทราย ตำบลนาดี) และอำเภอกระทุ่มแบน (ตำบลคลองมะเดื่อ ตำบลท่าไม้ และตำบลอ้อมน้อย) ถนนเศรษฐกิจ 1 ตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0+000 ถึงกิโลเมตรที่ 19+851 ปัจจุบันอยู่ในความควบคุมของหมวดการทางสมุทรสาครที่ 2 แขวงการทางสมุทรสาคร กรมทางหลวง.

ถนนเพชรเกษมและถนนเศรษฐกิจ 1 · ถนนเศรษฐกิจ 1และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเอกชัย

นนเอกชัย (Thanon Ekkachai) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3242 สายต่อทางขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร - ต่อทางของกรุงเทพมหานคร เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสาคร เริ่มต้นจากถนนจอมทองบริเวณสะพานคลองด่านในพื้นที่เขตจอมทอง ผ่านถนนกำนันแม้น ข้ามคลองวัดสิงห์เข้าพื้นที่เขตบางบอน จากนั้นตัดกับถนนบางบอน 1 ถนนบางขุนเทียน ถนนกาญจนาภิเษก ถนนบางบอน 3 และถนนบางบอน 5 ผ่านโรงเรียนศึกษานารีวิทยา เข้าเขตอำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านวัดโพธิ์แจ้ ถนนเทพกาญจนา ถนนเลียบคลองสี่วาพาสวัสดิ์ ข้ามสะพานตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 บริเวณมหาชัยเมืองใหม่ เข้าสู่เขตเทศบาลนครสมุทรสาคร ผ่านถนนเศรษฐกิจ 1 สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 กิโลเมตรที่ 30 ระยะทางจากถนนบางขุนเทียนประมาณ 23 กิโลเมตร ถนนเอกชัยนับตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 ถึงกิโลเมตรที่ 1+191 มีองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครเป็นผู้ดูแล นับตั้งแต่กิโลเมตรที่ 1+191 ถึงกิโลเมตรที่ 13+746 อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงสมุทรสาครที่ 2 แขวงทางหลวงสมุทรสาคร ต่อจากนั้นตั้งแต่กิโลเมตรที่ 13+746 ถึงกิโลเมตรที่ 19+650 อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงบางขุนเทียน แขวงทางหลวงธนบุรี ก่อนเส้นทางที่เหลือจนถึงถนนจอมทองจะอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร.

ถนนเพชรเกษมและถนนเอกชัย · ถนนเอกชัยและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325 สายบางแพ - สมุทรสงคราม เป็นทางหลวงแผ่นดินเชื่อมต่อระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 กับจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อรองรับการคมนาคมทางบก หลังจากที่ในสมัยก่อนมีการสัญจรคมนาคมทางน้ำเป็นหลัก โดยเฉพาะแม่น้ำแม่กลองและคลองดำเนินสะดวก ไม่ปรากฏแน่ชัดถึงการก่อสร้างว่าเกิดขึ้นในสมัยใด แต่เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินสายบางแพ-ดำเนินสะดวก-สมุทรสงคราม ให้ขนานนามว่า ถนนชูศักดิ์ เพื่อเป็นเกียรติแก่ นายชูศักดิ์ คชเสนี แต่ประชาชนที่สัญจรไปมากลับเรียกว่า ถนนสายสมุทรสงคราม-บางแพ จนถึงปัจจุบัน ทางหลวงสายนี้มีจุดเริ่มต้นที่สี่แยกบางแพ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ผ่านสี่แยกหัวโพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3236 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3237) เข้าเขตอำเภอดำเนินสะดวก ผ่านสี่แยกดอนคลัง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3336) ผ่านทางแยกตลาดน้ำคลองลัดพลี คลองดำเนินสะดวก ผ่านทางแยกตลาดน้ำดำเนินสะดวก ต่อด้วยทางเข้าอำเภออัมพวา สิ้นสุดเส้นทางที่ทางแยกสมุทรสงคราม บริเวณทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3092 (ถนนเอกชัย) ระยะทาง 42.406 กิโลเมตร ต่อมาเมื่อถนนพระรามที่ 2 ก่อสร้างแล้วเสร็จ ได้มีการก่อสร้างถนนทางเข้าเมืองสมุทรสงคราม ระยะทางประมาณ 1.347 กิโลเมตร ปัจจุบันได้มีการพัฒนาทางหลวงสายนี้เป็น 4-6 ช่องจราจรตลอดสาย อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสมุทรสงคราม สำนักงานทางหลวงที่ 15 (ประจวบคีรีขันธ์) และถนนทางเข้าเมืองสมุทรสงครามบางช่วงได้แบ่งให้เทศบาลเมืองสมุทรสงครามเป็นผู้บำรุงรักษาทางด้วย 325 3-325 325 325.

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 สายชะอำ–ปราณบุรี เป็นถนนเลี่ยงเมืองชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเลี่ยงเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มต้นที่ทางแยกต่างระดับชะอำ บริเวณกิโลเมตรที่ 187+682 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ในตำบลเขาใหญ่ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี มีเส้นทางลงไปทางทิศใต้ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับวังยาว บริเวณกิโลเมตรที่ 237+009 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ในตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รวมระยะทาง 47.468 กิโลเมตร เส้นทางสายนี้เดิมกำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 และในอดีตรหัสทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 เคยใช้กำหนดเป็นหมายเลขของถนนวงแหวนรอบนอก (ตะวันตก) ซึ่งภายหลังได้รับพระบรมราชนุญาตให้ชื่อว่า "ถนนกาญจนาภิเษก" และกำหนดรหัสทางเป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ซึ่งทำให้รหัสทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 ว่างลง จนกระทั่งได้นำมาใช้กำหนดในทางเลี่ยงเมืองช่วงชะอำ–ปราณบุรี ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4.

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 สายบ้านบ่อ–ลำลูกบัว ช่วงแรกเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรมีเกาะกลาง ส่วนในเขตชุมชนจะเป็นถนนขนาด 6-8 ช่องจราจร แยกจากถนนพระรามที่ 2 กิโลเมตรที่ 38 ตำบลชัยมงคล อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านเข้าไปในตัวอำเภอบ้านแพ้ว ผ่านบ้านดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยคริสเตียน ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม บริเวณสามแยกพระประโทน ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จากนั้นจะเริ่มเส้นทางอีกครั้งที่ตำบลบ่อพลับ อำเภอเมืองนครปฐม ขึ้นไปทางทิศเหนือผ่านอำเภอดอนตูม ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3297, 3233 และ 3296 ไปสุดที่ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม เส้นทางในช่วงนี้เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรตลอดสายยกเว้นในเขตชุมชน เดิมทางหลวงสายนี้ประกอบด้วยทางหลวงสองสาย มีชื่อเรียกตามบัญชีสายทางของกรมทางหลวงว่า "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3097 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (พระประโทน) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 35 (บ้านบ่อ)" ระยะทางรวม 37.521 กิโลเมตร และ "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3036 สายแยกทางหลวงหมายเลข 3095 (นครปฐม) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 346 (บางเลน)" จนกระทั่งในปี..

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ถนนเพชรเกษม มี 168 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 มี 114 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 17, ดัชนี Jaccard คือ 6.03% = 17 / (168 + 114)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »