โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

5 กันยายน

ดัชนี 5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

78 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2181พ.ศ. 2209พ.ศ. 2258พ.ศ. 2278พ.ศ. 2325พ.ศ. 2336พ.ศ. 2387พ.ศ. 2431พ.ศ. 2448พ.ศ. 2449พ.ศ. 2453พ.ศ. 2463พ.ศ. 2464พ.ศ. 2478พ.ศ. 2482พ.ศ. 2487พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2494พ.ศ. 2515พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2527พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพรปวีณ์ เทพมงคลพิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกรการก่อการร้ายการปฏิวัติฝรั่งเศสกีฬาโอลิมปิกมหาอัคคีภัยแห่งลอนดอนมานพ ยาระณะยานอวกาศรัฐนิวแฮมป์เชียร์ลุดวิก โบลทซ์มันน์วรกาญจน์ โรจนวัชรวอยเอจเจอร์ 1วันสารทจีนศรีไศล สุชาตวุฒิสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว...สมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์สรวปัลลี ราธากฤษณันสหรัฐสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นจอร์จ เลเซนบีณัฐธิชา นามวงษ์ควีนซาซ่าปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนประเทศฝรั่งเศสประเทศอิสราเอลปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)ปีอธิกสุรทินนาซานูรี ชาฮินแม่ชีเทเรซาไมเคิล คีตันเฟรดดี เมอร์คูรีเพลงลูกกรุงเรวัต พุทธินันทน์เหตุเฮลิคอปเตอร์เบลล์ตกที่จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2524เซะสึโกะ ฮะระ16 ตุลาคม17 มิถุนายน22 พฤศจิกายน24 พฤศจิกายน27 ตุลาคม ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »

พ.ศ. 2181

ทธศักราช 2181 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2181 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2209

ทธศักราช 2209 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2209 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2258

ทธศักราช 2258 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2258 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2278

ทธศักราช 2278 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2278 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2387

ทธศักราช 2387 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2387 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2431

ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2431 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: 5 กันยายนและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พรปวีณ์ เทพมงคล

รปวีณ์ เทพมงคล ชื่อเล่น น้ำตาล เข้าวงการบันเทิงจากเวทีประกวด Dream Star Search 2009 (ดรีมสตาร์เซิร์ท 2009) ได้รับรางวัลชนะเลิศฝ่ายหญิงและเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดสปีดวัน ซึ่งมี ยุ้ย จีระนันท์ มะโนแจ่ม และ อู๋ นวพล ภูวดล เป็นเจ้าของและจัดการประกวด จากนั้นก็มีผลงานละคร เรื่อง หมู่ 7 เด็ดสะระตี่ ช่อง 7 จากนั้นจึงได้รับโอกาสเป็นนักแสดงของช่อง 7 และผลงานอื่นๆตามมาอีกมากมายมักจะเป็นของช่อง 7.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพรปวีณ์ เทพมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 5 กันยายนและพิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการร้าย

ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 175 ที่ถูกจี้ พุ่งเข้าชนอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ในนครนิวยอร์ก ระหว่างเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 คำว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นคำที่ยังไม่มีการจำกัดความในกฎหมายอาญาที่มีผลผูกมัดตามกฎหมายและได้รับการยอมรับอย่างสากลAngus Martyn,, Australian Law and Bills Digest Group, Parliament of Australia Web Site, 12 February 2002.

ใหม่!!: 5 กันยายนและการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: 5 กันยายนและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: 5 กันยายนและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน

วาดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในลอนดอน ค.ศ. 1666 โดยจิตรกรนิรนามแสดงเพลิงที่กำลังลุกไหม้ในช่วงเย็นวันอังคาร โดยมองจากเรือที่อยู่ใกล้ๆ อู่เรือแคธารีน หอคอยลอนดอนอยู่ด้านขวาและสะพานลอนดอนอยู่ด้านซ้าย ในภาพจะเห็นอาสนวิหารเซนต์พอลอยู่ท่ามกลางวงล้อมของเปลวเพลิงที่สูง มหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน (Great Fire of London) คือการเกิดเพลิงเผาผลาญครั้งใหญ่ที่ลุกลามใหญ่โตทำลายพื้นที่ส่วนกลางของกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษตั้งแต่วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน ถึงวันพุธที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: 5 กันยายนและมหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มานพ ยาระณะ

อครูมานพ ยาระณะ หรือ พ่อครูพัน (5 กันยายน พ.ศ. 2478 — 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะการฟ้อน, ศิลปะการต่อสู้, การตีกลองสะบัดชัยแบบโบราณ, กลองปู่จา, กลองปู่เจ่, ดนตรีพื้นบ้านล้านนาและดนตรีไทย โดยได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: 5 กันยายนและมานพ ยาระณะ · ดูเพิ่มเติม »

ยานอวกาศ

นอวกาศที่มีคนขับ Soyuz ของรัสเซีย(รุ่นที่แสดงเป็นรุ่น TMA)ได้บินมาแล้วมากกว่า 100 ครั้งตั้งแต่ปี 1967, แต่เดิมถูกใช้สำหรับโครงการดวงจันทร์ที่มีคนขับของโซเวียต, แต่ปัจจุบันให้การสนับสนุนสถานีอวกาศนานาชาติ Spacelab), สถานีอวกาศเมียร์และสถานีอวกาศนานาชาติ (ภาพแสดงการยิงขึ้นสู่อวกาศครั้งแรกของยาน"โคลัมเบีย") ยานอวกาศ คือยานพาหนะ, ยานหรือเครื่องยนต์ที่ออกแบบมาเ'''พื่'''อบินไปในอวกาศ ยานอวกาศถูกนำมาใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย, รวมถึงการสื่อสารโทรคมนาคม, การสังเกตโลก, การอุตุนิยมวิทยา, การนำทาง, การสำรวจดาวเคราะห์และการขนส่งมนุษย์และสินค้า ในการบินในอวกาศแบบวงโคจรย่อย) ยานอวกาศเข้าสู่อวกาศด้านนอก จากนั้นก็กลับมายังพื้นผิวโลกโดยไม่ได้ขึ้นไปสู่วงโคจรหลัก. แต่สำหรับการบินในอวกาศแบบวงโคจรหลัก (orbital spaceflight) ยานอวกาศเข้าสู่วงโคจรปิดรอบโลกหรือรอบวัตถุนอกโลกหรือดวงดาวอื่นๆ ยานอวกาศที่ใช้สำหรับการบินของมนุษย์จะบรรทุกลูกเรือหรือผู้โดยสารบนยานจากจุดเริ่มต้นหรือสถานีอวกาศในวงโคจรเท่านั้น ในขณะที่ ยานที่ใช้สำหรับภารกิจหุ่นยนต์อวกาศจะทำงานด้วยตนเองหรือจากระยะไกลอย่างใดอย่างหนึ่ง ยานอวกาศหุ่นยนต์ที่ใช้เพื่อสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เป็นยานสำรวจอวกาศ ยานอวกาศหุ่นยนต์ที่ยังคงอยู่ในวงโคจรรอบโลกเป็นดาวเทียม มีเพียงยานสำรวจระหว่างดวงดาวไม่กี่ลำเช่นไพโอเนียร์ 10 และ 11, Voyager 1 และ 2, และ New Horizons ที่ปัจจุบันยังอยู่ในวงโคจรที่หลุดออกจากระบบสุริยะของเร่า ยานอวกาศที่อยู่ในวงโคจรอาจจะสามารถกู้คืนได้แต่บางทีก็ไม่ได้. โดยวิธีการย้อนกลับไปยังโลก พวกมันอาจจะถูกแบ่งออกเป็นแคปซูลที่ไม่มีปีกหรือเครี่องบินอวกาศที่มีปีก ปัจจุบันมนุษย์ได้ประสบความสำเร็จในการบินในอวกาศ แต่มีเพียงยี่สิบสี่ประเทศเท่านั้นที่มีเทคโนโลยีอวกาศเช่น รัสเซีย (Roscosmos, กองกำลังอวกาศรัสเซีย), สหรัฐอเมริกา (นาซ่า, กองทัพอากาศสหรัฐและอีกหลายบริษัทการบินอวกาศเชิงพาณิชย์), รัฐสมาชิกขององค์การอวกาศยุโรป, สาธารณรัฐประชาชนจีน (องค์การบริหารอทวกาศแห่งชาติจีน), ญี่ปุ่น (สำนักงานสำรวจอวกาศญี่ปุ่น) และอินเดีย (องค์การวิจัยอวกาศอินเดีย).

ใหม่!!: 5 กันยายนและยานอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวแฮมป์เชียร์

รัฐนิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาในเขตนิวอิงแลนด์ เมืองหลวงของรัฐชื่อ คองคอร์ด เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ แมนเชสเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐแกรนิต" เนื่องจากมีชั้นหินแกรนิตเป็นจำนวนมาก การท่องเที่ยวในนิวแฮมป์เชียร์ที่สำคัญได้แก่สกีในหน้าหนาว และการปีนเขาในหน้าร้อน รัฐนิวแฮมป์เชียร์เป็นที่ตั้งของ สนามแข่งรถนานาชาตินิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire International Speedway) สนามแข่งรถที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ในการแข่งขันรถ ลาวดอนคลาสสิก ในปี 2550 นิวแฮมป์เชียร์มีประชากร 1,315,828 คน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและรัฐนิวแฮมป์เชียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิก โบลทซ์มันน์

ลุดวิก เอดูอาร์ด โบลทซ์มันน์ (Ludwig Eduard Boltzmann; 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1844 - 5 กันยายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ผู้มีชื่อเสียงจากการเป็นส่วนหนึ่งของการค้นพบด้านกลศาสตร์สถิติและอุณหพลศาสตร์สถิติ เป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ผู้คิดค้นทฤษฎีอะตอมในยุคที่แบบจำลองวิทยาศาสตร์ด้านอะตอมยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู.

ใหม่!!: 5 กันยายนและลุดวิก โบลทซ์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

วรกาญจน์ โรจนวัชร

วรกาญจน์ โรจนวัชร (หรือ วรฑิกานต์ โรจนวัชร) ชื่อเล่นว่า พั้นช์ (เกิดวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2527) เป็นนักร้องหญิงชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีผลงานเด่น คือ เพลง "คำขอร้องของผู้หญิงตาดำ ๆ", "เราคงต้องเป็นแฟนกัน", "ยิ่งกว่าเสียใจ" และ "วางมือบนบ่า น้ำตาก็ไหล" เป็นต้น พั้นช์ วรกาญจน์เป็นลูกสาวคนเดียวของครอบครัว เริ่มร้องเพลงกับวงดนตรีของครอบครัวเมื่ออายุ 9 ปี หลังจากนั้นก็ร้องเพลงมาโดยตลอด จนกระทั่ง หลานของลุงชวนเธอเป็นนักร้องของวง Tiny Thai เพื่อประกวดโครงการ Nescafe' แม้ว่าจะไม่ได้รับรางวัลชนะเลิศ แต่ก็มีแมวมองจากค่ายเพลงชื่อดังอย่างจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้ติดต่อทางแม่ของพั้นช์ (แม่แตน) และได้ไปเทสต์เสียงในที่สุด พั้นช์ วรกาญจน์ โรจนวัชร เป็นศิลปิน ที่มีความสามารถในการร้องเพลง ชีวิตของเธอผูกพันกับเสียงเพลงมาตั้งแต่เด็ก เพราะ “ พั้นช์ ” เกิดในครอบครัวนักดนตรีที่เล่นเพลงตามงานต่าง ๆ เธอเริ่มร้องเพลงโดยเป็นนักร้องนำให้กับวงดนตรีของครอบครัวตั้งแต่อายุ 5 ขวบ ตอนมัธยม พั้นช์เรียนอยู่ที่ โรงเรียน ฤทธิณรงค์รอน แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ และจบหลักสูตรนิเทศศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ใหม่!!: 5 กันยายนและวรกาญจน์ โรจนวัชร · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์ 1

วอยเอจเจอร์ 1 วอยเอเจอร์ 1 (Voyager 1) เป็นยานสำรวจอวกาศที่นาซาปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: 5 กันยายนและวอยเอจเจอร์ 1 · ดูเพิ่มเติม »

วันสารทจีน

ซ้ายคือขนมเทียนและขนมเข่ง ถาดขวาคือไก่ต้ม วันสารทจีน ตามปฏิทินทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีนจะตรงกับวันที่ 15 เดือน 7 ตามปฏิทินจีน เทศกาลสารทจีนถือเป็นวันสำคัญที่ลูกหลานชาวจีนจะแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็นเดือนที่ประตูนรกเปิดให้วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้.

ใหม่!!: 5 กันยายนและวันสารทจีน · ดูเพิ่มเติม »

ศรีไศล สุชาตวุฒิ

รีไศล สุชาตวุฒิ หรือ หม่อมศรีไศล วรานนท์ ณ อยุธยา (สุชาตวุฒิ) นักร้องเพลงลูกกรุง มีผลงานที่เพลงที่มีชื่อเสียงคือ เพลง รักข้ามขอบฟ้า, เก็บรัก, คิดจะปลูกต้นรักอีกกอ, ชั่วฟ้าดินสลาย, จงรัก สมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช ศรีไศล สุชาตวุฒิ เคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง เพลงรักเพื่อเธอ (2520) นำแสดงโดย สรพงศ์ ชาตรี และพิศมัย วิไลศักดิ์ ศรีไศล สุชาตวุฒิ เป็นธิดาคนที่ 9 ในจำนวน 11 คน ของ ผู้พิพากษา สรร และนางถมยา (คำลิขิต) สุชาตวุฒิ มีพี่น้องดังนี้.

ใหม่!!: 5 กันยายนและศรีไศล สุชาตวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว

มัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว (Reign of Terror; 5 กันยายน ค.ศ. 1793 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794) หรือที่เรียกว่า The Terror (la Terreur) เป็นสมัยแห่งความรุนแรงที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสเริ่มต้น โดยถูกกระตุ้นจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มแยกทางการเมืองที่เป็นคู่แข่งกัน คือ ฌีรงแด็ง (Girondins) และฌากอแบ็ง (Jacobins) ซึ่งมีการประหารชีวิต "ศัตรูแห่งการปฏิวัติ" จำนวนมาก ยอดผู้เสียชีวิตอยู่ในหลักหมื่น โดยมีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยติน 16,594 คน และอีก 25,000 คน ถูกประหารชีวิตอย่างรวบรัดทั่วฝรั่งเศส กิโยตินกลายมาเป็นสัญลักษณ์แห่งอุดมการณ์การปฏิวัติ ซึ่งมีการประหารชีวิตบุคคลสำคัญจำนวนมาก เช่น มารี อ็องตัวแน็ตและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทั้งผู้สนับสนุนการปฏิวัติ ฟิลิปป์ เอกาลีเต (หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์) มาดามโรลองด์และกลุ่มฌีรงแด็ง นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายคน อาทิ อ็องตวน ลาวัวซีเย นักเคมีบุกเบิก ที่ต้องมาสังเวยชีวิตด้วยเช่นกัน ระหว่าง..

ใหม่!!: 5 กันยายนและสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์

มเด็จพระราชินีฟารีดา (الملكة فريده; พระราชสมภพ: 5 กันยายน พ.ศ. 2464 – สวรรคต: 16 ตุลาคม พ.ศ. 2531) หรือพระนามเดิม ซาฟินาซ ษูลฟิการ (صافيناز ذوالفقار Sāfināz Dhū l-Fiqār) เป็นอดีตพระราชินีในพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต.

ใหม่!!: 5 กันยายนและสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

สรวปัลลี ราธากฤษณัน

ร.

ใหม่!!: 5 กันยายนและสรวปัลลี ราธากฤษณัน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: 5 กันยายนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ใหม่!!: 5 กันยายนและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เลเซนบี

อร์จ ลาเซนบี ถ่ายเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1968 ภาพจอร์จ ลาเซนบี ถ่ายเมื่อ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 จอร์จ เลเซนบี หรือ จอร์จ โรเบิร์ต เลเซนบี (George Lazenby หรือ George Robert Lazenby) เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) ที่เมืองควีนบีเยน รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย จอร์จ เลเซนบี เป็นนายแบบโฆษณามาก่อน ก่อนจะได้รับบทเป็นเจมส์ บอนด์ คนที่ 2 ต่อจาก ฌอน คอนเนอรี่ แต่รับบทได้แค่ตอนเดียว คือตอน On Her Majesty's Secret Service (ยอดพยัคฆ์ราชินี) เมื่อปี พ.ศ. 2512 หรือ ค.ศ. 1969 เนื่องจากแฟน ๆ ภาพยนตร์ไม่ยอมรับเพราะเป็นชาวออสเตรเลีย แต่ บอนด์ ในนวนิยาย เป็นสายลับอังกฤษ ทำงานให้รัฐบาลและราชินีแห่งอังกฤษ ชาวอังกฤษจึงไม่เห็นด้วยที่จะให้จอร์จรับบทเป็นบอนด์ จอร์จ จึงต้องออกไปจากบทบอนด์ และ ฌอน คอนเนอรี่ กลับมารับบทบาทเจมส์ บอนด์ ต่ออีกหนึ่งตอน ก่อนที่ โรเจอร์ มัวร์ จะก้าวเข้ามาเป็นเจมส์บอนด์คนถัดไป.

ใหม่!!: 5 กันยายนและจอร์จ เลเซนบี · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐธิชา นามวงษ์

ณัฐธิชา นามวงษ์ หรือ เก๋ไก๋ นักแสดงหญิงชาวไทย เป็นเน็ตไอดอลที่เป็นที่รู้จักจากการเปลี่ยนแปลงตัวเอง ปัจจุบันมีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือภาพยนตร์เรื่อง รุ่นพี.

ใหม่!!: 5 กันยายนและณัฐธิชา นามวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ควีน

ฟรดดี เมอร์คิวรี (กลาง) ไบรอัน เมย์ (ขวา) และจอห์น ดีคอน (ซ้าย)ควีน (Queen) เป็นวงร็อกจากประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้น ณ กรุงลอนดอน เมื่อปี..

ใหม่!!: 5 กันยายนและควีน · ดูเพิ่มเติม »

ซาซ่า

ซาซ่า (Zaza) เป็นเกิร์ลกรุปสัญชาติไทยประกอบด้วยสมาชิกคือพิม พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร, น้ำหวาน พิมรา เจริญภักดี และแก้ว จรีนา สิริสิงห มีผลงานอัลบั้มเพลงหลายชุดกับสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยซาซ่า มีผลงานอัลบั้มเต็มถึง 5 ชุด ในระยะเวลา 10 ปี นอกจากนี้ยังมีอัลบั้มที่ออกคู่กับศิลปินท่านอื่น และโปรเจกต์พิเศษอีกมากมาย โดยซาซ่ามีผลงานเพลงที่สร้างชื่อเสียงให้กับวงมากมาย ได้แก่เพลง รู้ตัวมั๊ย, นอนไม่หลับ, เธอคงไม่รู้, รัก ไม่รัก,โอ...เข้าทาง, เลือกได้ไหม, เข้าใจใช่ไหม, ข้อสอบ, อย่าวัดด้วยสายตา, ใจละลาย, น่าจะเข้าใจ, เคยไปทำเธอตอนไหน,เอะอะก็ไม่คิด, จบไปได้แล้ว, เหรอ, ความเดิมตอนที่แล้ว, ความผิดติดตัว, หวานใจ, คำขอครั้งสุดท้าย และเพลง เสียงจากคนใกล้ตัว เป็นต้น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและซาซ่า · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: 5 กันยายนและปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: 5 กันยายนและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: 5 กันยายนและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: 5 กันยายนและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปาเลสไตน์ (فلسطين‎ ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S. Ehrlich "Philistines" The Oxford Guide to People and Places of the Bible.

ใหม่!!: 5 กันยายนและปาเลสไตน์ (ภูมิภาค) · ดูเพิ่มเติม »

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ใหม่!!: 5 กันยายนและปีอธิกสุรทิน · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: 5 กันยายนและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

นูรี ชาฮิน

นูรี ชาฮิน (Nuri Şahin) เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1988 เป็นนักฟุตบอลของทีมชาติตุรกี และเล่นให้กับ โบรุสซีอาดอร์ทมุนด์ ใน บุนเดสลีกา เล่นในตำแหน่งกองกลาง สวมเสื้อเบอร์ 18 โดยโบรุสซีอาดอร์ทมุนด์ได้ยืมตัวมาจากสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดร.

ใหม่!!: 5 กันยายนและนูรี ชาฮิน · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: 5 กันยายนและแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล คีตัน

มเคิล จอห์น ดักลาส (Michael John Douglas) เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1951 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ไมเคิล คีตัน (Michael Keaton) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในช่วงแรกกับบทตลกอย่างเช่น Night Shift, Mr. Mom, Beetlejuice และรับบทเป็นบรูซ เวย์น / แบทแมน ในภาพยนตร์ของทิม เบอร์ตัน เรื่อง Batman และ Batman Returns เช่นเดียวกับบทนำในภาพยนตร์อื่นอย่างเช่น The Paper, Jackie Brown และ White Noise.

ใหม่!!: 5 กันยายนและไมเคิล คีตัน · ดูเพิ่มเติม »

เฟรดดี เมอร์คูรี

ฟารุก "เฟร็ดดี" เมอร์คูรี (ชื่อเกิด Farrokh Bulsara; ภาษาคุชราต: Pharōkh Balsārā‌; 5 กันยายน ค.ศ. 1946 – 24 กันยายน ค.ศ. 1991) mr-mercury.co.uk เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ชาวบริติช เป็นที่รู้จักดีในฐานะนักร้องนำวงควีน เขามักเป็นที่รู้จักจากการแสดงบนเวทีที่มีสีสันและเสียงอันทรงพลัง ในฐานะนักแต่งเพลง เขาแต่งเพลงที่ได้รับความนิยมสูงมากมายของวงควีน เช่น "Bohemian Rhapsody," "Killer Queen," "Somebody to Love," "Don't Stop Me Now," "Crazy Little Thing Called Love" และ "We Are the Champions" นอกเหนือจากการทำงานกับวงควีน เขายังทำผลงานเดี่ยวด้วย และบางครั้งก็ทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์และเป็นศิลปินรับเชิญ (ในฐานะบทบาทเปียโน/นักร้อง) ในวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 5 กันยายนและเฟรดดี เมอร์คูรี · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: 5 กันยายนและเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต พุทธินันทน์

รวัต พุทธินันทน์ (ชื่อเล่น เต๋อ; เกิด (5 กันยายน พ.ศ. 2491-27 ตุลาคม พ.ศ. 2539) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ อดีตสมาชิกวงดิ อิมพอสซิเบิ้ล และวงโอเรียนเต็ล ฟังก์ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ (หรือที่รู้จักกันดีในนามจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม เมื่อ พ.ศ. 2526 เต๋อ เรวัต เป็นบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งวงการเพลงไทย เป็นโปรดิวเซอร์ นักดนตรี นักแต่งเพลงในตำนาน เป็นผู้ปฏิวัติวงการเพลงไทยให้ไปสู่ยุคทองแห่งความเจริญรุ่งเรือง และผู้ริเริ่มความทันสมัยของดนตรีสมัยใหม่ให้กับประเทศไทย เป็นผู้บุกเบิกแนวเพลงสตริงอันทันสมัยให้กับการเพลงไทย ผู้นำแนวเพลง ร๊อค ป๊อบ แดนซ์ โมเดิร์นแจ๊ส ฟังค์ ฯลฯ เข้ามาเป็นที่นิยมในไทย เป็นผู้มีคุณูปการ มหาศาลแก่วงการเพลงไทย เป็นผู้ปลุกปั้นศิลปินให้มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับ เป็นบุคคลตัวอย่าง แรงบันดาลใจให้กับนักร้องนักดนตรีของเมืองไทย มาจวบจนสมัยนี้.

ใหม่!!: 5 กันยายนและเรวัต พุทธินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเฮลิคอปเตอร์เบลล์ตกที่จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2524

หตุเฮลิคอปเตอร์เบลล์ตกที่จังหวัดเชียงใหม..

ใหม่!!: 5 กันยายนและเหตุเฮลิคอปเตอร์เบลล์ตกที่จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

เซะสึโกะ ฮะระ

ซ็ตซึโกะ ฮาระ เกิดวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1920 ในโยโกฮามา จังหวัดคานากาว่า เซ็ตซึโกะ ฮาระ เป็นดาราหญิงที่มีชื่อเสียงในยุค 1940-1960 มักจะได้รับบทบาทการแสดงในหนังของยาสุจิโร โอสุ เสมอ และยังได้แสดงในหนังของอากิระ คุโรซาวา, มิคิโอะ นารุเซะ และผู้กำกับคนอื่นๆในสมัยนั้น เซ็ตซึโกะ ฮาระ มีกรุปเลือดในหมู่โลหิต กรุ๊ปโอ ชื่อจริงของเซ็ตซึโกะ ฮาระ คือ มะซะเอะ ไอดะ (Masae Aida).

ใหม่!!: 5 กันยายนและเซะสึโกะ ฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤศจิกายน

วันที่ 24 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 328 ของปี (วันที่ 329 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 37 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและ24 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 5 กันยายนและ27 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

5 ก.ย.๕ กันยายน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »