โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

.cw

ดัชนี .cw

.cw เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับกือราเซา เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2553 กือราเซาเคยเป็นส่วนหนึ่งของเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส ซึ่งใช้โดเมนระดับบนสุด.an ภายหลังการยุบเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส โดเมน.an ถูกยกเลิกการใช้งาน และส่วนที่อยู่ในเขตกือราเซาจะใช้.cw แทน.

8 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2553กือราเซารหัสประเทศดีเอ็นเอสโดเมนระดับบนสุดโดเมนระดับบนสุดตามรหัสประเทศเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส.an

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: .cwและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

กือราเซา

กือราเซา (Curaçao) หรือ กอร์ซอว์ (ปาเปียเมนตู: Kòrsou) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ประเทศกือราเซา (ดัตช์: Land Curaçao; ปาเปียเมนตู: Pais Kòrsou)เป็น 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ อันประกอบไปด้วยกือราเซา, อารูบา, เนเธอร์แลนด์ และ ซินต์มาร์เติน โดยกือราเซาเป็นประเทศที่เป็นเกาะตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีสทางตอนใต้ของทะเลแคริบเบียน ห่างจากชายฝั่งตอนเหนือของประเทศเวเนซุเอลาออกไปประมาณ 65 กิโลเมตร ประเทศกือราเซาเคยเป็นส่วนหนึ่งในดินแดนกือราเซาและรัฐภายใต้ความคุ้มครองของเนเธอร์แลนด์ (Curaçao and Dependencies colony) ในช่วงระหว่างปี..1815–1954 ต่อมาได้ถูกผนวกรวมกับดินแดนอื่นๆเช่น อารูบา, ซินต์มาร์เติน, ซาบา,โบแนเรอ จัดตั้งเป็นแคว้นเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส ก่อนที่ในเดือนตุลาคม..2010 เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสจะถูกยุบ หลังจากยุบเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส ปัจจุบันกือราเซา มีสถานะเป็นประเทศปกครองตนเองที่ขึ้นตรงต่อราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เช่นเดียวกับประเทศเนเธอร์แลนด์,อารูบา และซินต์มาร์เติน มีพื้นที่ 444 ตารางกิโลเมตร (171 ตารางไมล์) และมีวิลเลมสตัดเป็นเมืองหลวง จากข้อมูลวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: .cwและกือราเซา · ดูเพิ่มเติม »

รหัสประเทศ

รหัสประเทศ คือตัวอักษรหรือตัวเลขของรหัสภูมิศาสตร์ แสดงถึงประเทศหรือเขตการปกครองอิสระ ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลหรือการสื่อสาร รหัสประเทศได้มีการพัฒนาขึ้นในหลายมาตรฐาน โดยรหัส ISO 3166-1 เป็นรหัสที่มีการนิยมใช้มากที.

ใหม่!!: .cwและรหัสประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ดีเอ็นเอส

ระบบการตั้งชื่อโดเมน หรือ ดีเอ็นเอส (Domain Name System: DNS) เป็นระบบที่ใช้เก็บข้อมูลของชื่อโดเมน (โดเมนเนม) ซึ่งใช้ในเครือข่ายขนาดใหญ่อย่างอินเทอร์เน็ต โดยข้อมูลที่เก็บมีหลายอย่าง แต่สิ่งสำคัญคือความสัมพันธ์ระหว่างชื่อโดเมนนั้นๆ กับหมายเลขไอพีที่ใช้งานอยู่ คำว่าดีเอ็นเอสสามารถหมายถึง บริการชื่อโดเมน (Domain Name Service) ก็ได้ ส่วนเครื่องบริการจะเรียกว่า เครื่องบริการชื่อ หรือ เนมเซิร์ฟเวอร์ (name server) ประโยชน์ที่สำคัญของดีเอ็นเอส คือช่วยแปลงหมายเลขไอพีซึ่งเป็นชุดตัวเลขที่จดจำได้ยาก (เช่น 207.142.131.206) มาเป็นชื่อที่สามารถจดจำได้ง่ายแทน (เช่น wikipedia.org).

ใหม่!!: .cwและดีเอ็นเอส · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนระดับบนสุด

มนระดับบนสุด (Top-level domain - TLD) คือส่วนท้ายของโดเมนเนมบนอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น โดเมนระดับบนสุดของ wikipedia.org คือ org (หรือ ORG) องค์การกำหนดหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IANA) แบ่งโดเมนระดับบนสุดออกเป็น 3 ประเภท ได้แก.

ใหม่!!: .cwและโดเมนระดับบนสุด · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนระดับบนสุดตามรหัสประเทศ

แผนที่โลกพร้อมโดเมนระบบบนสุด โดเมนระดับบนสุดตามรหัสประเทศ เป็นโดเมนระดับบนสุดซึ่งใช้โดยประเทศหรือเขตปกครอง ประกอบด้วยตัวอักษร 2 ตัว โดยส่วนใหญ่จะใช้ตามรหัสประเทศ ISO 3166-1 alpha-2 เช่น th สำหรับประเทศไท.

ใหม่!!: .cwและโดเมนระดับบนสุดตามรหัสประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส

นเธอร์แลนด์แอนทิลลีส (Nederlandse Antillen; Netherlands Antilles) เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) และประกอบด้วยเกาะในทะเลแคริบเบียนสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกคือ กือราเซาและโบแนเรอ ตั้งอยู่นอกชายฝั่งประเทศเวเนซุเอลา อีกกลุ่มคือ ซินต์เอิสตาซียึส ซาบา และซินต์มาร์เติน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของหมู่เกาะเวอร์จิน หมู่เกาะต่าง ๆ เหล่านี้มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองภายใต้ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เศรษฐกิจหลักของเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับการท่องเที่ยวและปิโตรเลียม ในปี..

ใหม่!!: .cwและเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส · ดูเพิ่มเติม »

.an

.an เป็นโดเมนระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2536 โดเมน.an ถูกยุบเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: .cwและ.an · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »